วิจัย นวัตกรรม เพื่อเพิ่มมูลค่า

นวัตกรรมเกษตรเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ นวัตกรรมใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่เพียงแต่ช่วยกระตุ้นการผลิต แต่ยังเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย วิจัย นวัตกรรม ทำให้มูลค่าสินค้าการเกษตรสูงขึ้น ด้วยการแปรรูป การบรรจุ การเก็บรักษา 

นวัตกรรมการเกษตร

การเก็บข้อมูลของดินด้วยระบบดิจิตอล เป็นหนึ่งในนวัตกรรมเกษตรที่กำลังเป็นที่น่าสนใจในเวลานี้ เพราะนวัตกรรมนี้จะช่วยวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ของดิน ว่าดินแต่ละพื้นที่ควรปลูกพืชพันธุ์ไหน ในเวลาใด เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุด โดยผูกข้อมูลไว้กับ Google earth รวมทังนวัตกรรมการปลูกผักแบบไร้ดินในโรงเรือนแบบผิด 

เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

เป็นการนำความรู้วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพืช สัตว์ และจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร ได้แก่ การปรับปรุงพันธุ์พืชให้ได้ลักษณะตามต้องการ เช่น ทนโรคแมลงศัตรูพืช มีผลผลิตสูงขึ้น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อผลิตต้นพืชปริมาณมากในระยะเวลาสั้น 

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม

สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มุ่งถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรให้เกิดการขยายผลอย่างทั่วถึง เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สร้างมูลค่าเพิ่ม ตลอดจนเชื่อมโยงเครือข่ายการทำงานและสร้างความร่วมมือระหว่างเกษตรกร/ชุมชน ภาครัฐและภาคเอกชน สอดรับกับการพัฒนาประเทศด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG ที่ขับเคลื่อนประเทศด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึ่ง สท. ขับเคลื่อนการทำงานผ่านการพัฒนาเชิงพื้นที่

Read more about our story

สร้างอนาคตยั่งยืน ด้วยนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

ปัจจุบันกระแสการรักษาสุขภาพและความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมกำลังขยายตัวไปทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย แนวโน้มดังกล่าวได้ส่งผลให้ เกษตรอินทรีย์ (Organic..Agriculture) กลายเป็นหนึ่งในรูปแบบการเกษตรที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปี 2025 เพราะสินค้าเกษตรอินทรีย์ไม่เพียงแต่สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคในเรื่องความปลอดภัยและมีคุณภาพเท่านั้น

นวัตกรรมเกษตร FACULTY OF AGRICULTURAL INNOVATION

นวัตกรรมเกษตร คือ การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีการเกษตรที่ทันสมัยต่างๆ เข้ากับเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก เพิ่มผลผลิต และเพิ่มคุณภาพของผลิตผล โดยใช้ข้อมูลของต้นพืช สภาพแวดล้อมของฟาร์ม และฐานข้อมูลด้านการเกษตร ที่เชื่อมโยงถึงกันเป็นเครือข่าย มาประมวลผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยการตัดสินใจปรับปัจจัยการผลิตและการดูแลรักษาต้นพืชอย่างพอเหมาะ รวมถึงการจัดการผลิตผลเกษตรหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อคงคุณภาพเอาไว้ให้นานที่สุด

เนื้อหาทั้งหมด

ตัวอย่างนวัตกรรมเกษตรที่สำคัญ

การจัดการฟาร์มรูปแบบใหม่

เป็นการจัดการระบบปลูกพืชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดโอกาสการเกิดความเสียหายด้วยเทคโนโลยี ได้แก่ การปลูกพืชระบบปิดแบบแม่นยำ (Plant factory) ที่สามารถควบคุมปัจจัยแวดล้อม เช่น น้ำ แสง อุณหภูมิ ความชื้น

อ่านต่อเพิ่มเติม

การเกษตรแม่นยำ 

เป็นรูปแบบการเกษตรที่นำเทคโนโลยีและข้อมูลมาจัดการแปลงหรือโรงเรือน ได้แก่ การใช้เซนเซอร์และไอโอที (IOT) ที่เป็นเครือข่ายสำหรับเก็บข้อมูล ถ่ายโอน และประมวลผลแบบทันที (Real timeผ่านแอปพลิเคชัน

อ่านต่อเพิ่มเติม

อากาศยานไร้คนขับหรือโดรน 

ปัจจุบันการทำเกษตรยุค 5G กำลังเป็นที่สนใจอย่างมาก ซึ่งโดรนเป็นหนึ่งในนวัตกรรมที่ถูกนำมาใช้ทางการเกษตร เช่น พ่นสารป้องกันกำจัดโรคและแมลง กำจัดวัชพืช หว่านเมล็ดพันธุ์ หว่านปุ๋ย ในแปลงขนาดใหญ่หรือช่วยผสมเกสรในโรงเรือน

อ่านต่อเพิ่มเติม

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย

ตรวจสอบพื้นที่ประกอบการพิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (IEE) โครงการระบบโครงข่ายไฟฟ้า เพื่อรองรับโครงการไฟฟ้าพลังน้ำใน สปป.ลาว (ส่วนที่พาดผ่านพื้นที่ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม)
ตั้งอยู่ที่อำเภอสองแคว อำเภอท่าวังผา อำเภอเมืองน่าน และอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน และอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2568
บทความทั้งหมด